บันทึกการสอนประจำวัน
บันทึกการสอนของนักเรียนชั้น ป.๕
วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
หยุดชดเชยวันปิยมหาราช
วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
ครูแนะนำวรรณกรรมที่จะใช้ใน Quarter ๓ นี้
ครูให้พี่ๆ ป.๕ คาดเดาเรื่องราวจากหน้าปกวรรณกรรมเรื่อง “ลูกอีสาน” โดยใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่า คำว่าลูกอีสาน เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร?”
-พี่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
พี่ต้นกล้า : นึกถึงคนอีสานครับ
พี่เจมส์ : นึกถึงความยากจนของคนอีสานครับ
พี่น้ำตาล : นึกถึงอาหารอีสานค่ะ
-ครูตั้งถาม พี่ๆเห็นภาพๆนี้แล้วรู้สึกอย่างไร?
พี่การ์ตูน : รู้สึกว่าเรื่องราวต้องสนุกครับ
พี่ดาก้า : รู้สึกถึงความลำบากครับ
พี่อั๋น : รู้สึกถึงความอดทนครับ
-ครูให้พี่ๆคาดเดาเรื่องเราเป็นการเขียนบรรยายและวาดภาพสื่อ
วันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐
พี่ๆป.๕ ครูให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนวิชาภาษาไทย โดยให้เขียนสรุปในรูปแบบ Mind mapping
วันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
วันหยุดราชการ (พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ)
วันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐
พี่ๆป.๕ เริ่มต้นอ่านวรรณกรรมเรื่อง "ลูกอีสาน" บทที่ ๑ ตอน หมู่บ้านเริ่มร้าง (นักเรียนอ่าน ช,ญ ครูอ่านให้ฟัง) ครูให้นักเรียนสรุปความเข้าใจจากการอ่านวรรณกรรมบทที่ ๑ คำถาม (ใคร,ทำอะไร,ที่ไหน, อย่างไร?) ข้อคิดที่ได้พร้อมวาดภาพสื่อ และให้นักเรียนไปอ่านวรรณกรรมต่อเป็นการบ้านบทที่ ๒ ตอน หาอาหารหน้าแล้ง
หยุดชดเชยวันปิยมหาราช
วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
ครูแนะนำวรรณกรรมที่จะใช้ใน Quarter ๓ นี้
ครูให้พี่ๆ ป.๕ คาดเดาเรื่องราวจากหน้าปกวรรณกรรมเรื่อง “ลูกอีสาน” โดยใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่า คำว่าลูกอีสาน เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร?”
-พี่ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
พี่ต้นกล้า : นึกถึงคนอีสานครับ
พี่เจมส์ : นึกถึงความยากจนของคนอีสานครับ
พี่น้ำตาล : นึกถึงอาหารอีสานค่ะ
-ครูตั้งถาม พี่ๆเห็นภาพๆนี้แล้วรู้สึกอย่างไร?
พี่การ์ตูน : รู้สึกว่าเรื่องราวต้องสนุกครับ
พี่ดาก้า : รู้สึกถึงความลำบากครับ
พี่อั๋น : รู้สึกถึงความอดทนครับ
-ครูให้พี่ๆคาดเดาเรื่องเราเป็นการเขียนบรรยายและวาดภาพสื่อ
วันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐
พี่ๆป.๕ ครูให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนวิชาภาษาไทย โดยให้เขียนสรุปในรูปแบบ Mind mapping
วันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
วันหยุดราชการ (พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ)
วันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐
พี่ๆป.๕ เริ่มต้นอ่านวรรณกรรมเรื่อง "ลูกอีสาน" บทที่ ๑ ตอน หมู่บ้านเริ่มร้าง (นักเรียนอ่าน ช,ญ ครูอ่านให้ฟัง) ครูให้นักเรียนสรุปความเข้าใจจากการอ่านวรรณกรรมบทที่ ๑ คำถาม (ใคร,ทำอะไร,ที่ไหน, อย่างไร?) ข้อคิดที่ได้พร้อมวาดภาพสื่อ และให้นักเรียนไปอ่านวรรณกรรมต่อเป็นการบ้านบทที่ ๒ ตอน หาอาหารหน้าแล้ง
ตัวอย่างกิจกรรม/ชิ้นงาน
บันทึกการสอนของนักเรียนชั้น ป.๖
วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
หยุดชดเชยวันปิยมหาราช
วันที่
๒๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐
พี่ๆ
ป.๖ สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนที่เคยเรียนมาทั้งหมดในรูปแบบของ Mind mapping นำเสนอองค์ความรู้ทั้งหมด
วันที่
๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
วันหยุดราชการวัน
(พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ)
วันที่
๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐
วันนี้พี่ๆ
ป.๖ เรียนเรื่องการอ่านบทกลอน ร้อยกรองที่เป็นโวหารต่างๆ
ครูมีบทกลอนมาแจกให้นักเรียนแปะลงสมุดพร้อมกับอ่านบทกลอนนั้น
ถอดความและเขียนคำศัพท์ใหม่ที่ได้เรียนรู้ในบทกลอนที่ตนเองได้ลงสมุด
ตัวอย่างกิจกรรม/ชิ้นงาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น